การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 17 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล และการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากวันนี้เป็นวันแรกที่ผมจะเริ่มต้นถึงหัวข้อนี้อย่างจริงๆ จังๆ ผมจึงจะขอเริ่มต้นจากเรื่องพื้นฐานๆ ก่อนเลยก็แล้วกันซึ่งในวันนี้ผมจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงวัตถุประสงค์ของการทำการเจาะสำรวจดิน หรือ BORING LOG นั่นเองนะครับ   จริงๆ … Read More

ความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามนั้นมีอยู่ว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเจาะเสียบ พุกเหล็ก หรือ สลักเกลียวเคมี หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า CHEMICAL ANCHOR BOLT เข้าไปในโครงสร้างคอนกรีตเดิม โดยที่สลักเกลียวนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 16 มม โดยผมขอสมมติว่าผมจะใช้ตัวเคมีภัณฑ์ … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เพิ่งจะผ่านพ้นมาไม่นานมานี้ นั่นก็คือเหตุการณ์ที่มีรถชนเข้ากับตัวราวกันตก คสล ที่ทำหน้าที่กั้นระหว่างถนนและคลอง ซึ่งผลปรากฏว่าราวกันตก คสล นั้นเกิดการวิบัติจนในที่สุดก็ทำให้รถนั้นตกลงไปในคลองจนทำให้มีผู้เสียชีวิตในเวลาต่อมานั่นเองนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมไมได้จะมากล่าวถึงเหตุการณ์ๆ นี้ในแง่ใดแง่หนึ่งเป็นพิเศษนะครับ ผมเพียงแค่อยากที่จะมาชี้ให้เห็นถึงรายละเอียดหนึ่งที่มีความสำคัญในการออกแบบโครงสร้างจำพวกราวกันตกเหล่านี้ว่าควรมีวิธีการและแนวคิดในการออกแบบเป็นอย่างไรเท่านั้นนะครับ   ก่อนอื่นผมต้องขอบอกเอาไว้ก่อนว่าหากมีเพื่อนๆ ท่านใดกำลังจะต้องทำการออกแบบโครงสร้างแบบนี้ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขอเริ่มต้นทำการอธิบายถึงในส่วนแรกก่อน นั่นก็คือ ขั้นตอนในการออกแบบและเตรียมการ สำหรับการทำงานการตอกเสาเข็มนะครับ … Read More

วิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้สามารถมีค่าความต้านทาน ต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ก่อนนี้ว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อนะครับ   โดยในวันนี้ผมจะมาพูดถึงวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ … Read More

การจี้หรือกระทุ้งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ เนื่องจากผมมีโอกาสได้ไปสนทนากันกับรุ่นพี่ที่เป็นสถาปนิกรุ่นใหญ่ท่านหนึ่ง เราได้พูดคุยและแลกเปลี่ยนความรู้กันในหลายๆ เรื่องและมีคำถามๆ หนึ่งที่พี่เค้าได้สอบถามผมมาและผมก็ได้ตอบไปเรียบร้อยแล้ว … Read More

วิศวกรรมระบบท่อต่างๆ ภายในอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ ผมเชื่อว่าตามปกติแล้วเวลาที่เพื่อนๆ ต้องตรวจสอบการทำงานในหมวดงานวิศวกรรมระบบท่อต่างๆ ภายในอาคารของทาง ผรม สิ่งหนึ่งที่เรามักจะต้องทำการตรวจสอบอยู่เสมอเลยก็คือ ท่อต่างๆ จะต้องมีระยะความลาดเอียงที่มากเพียงพอ แต่เพื่อนๆ … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มและสั่นสะเทือนน้อย เหมาะสำหรับงานต่อเติม หรือสร้างใหม่

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มและสั่นสะเทือนน้อย เหมาะสำหรับงานต่อเติม หรือสร้างใหม่ ต้องการเสาเข็มต่อเติมบ้าน ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เพราะเป็นเสาเข็มที่มีคุณภาพและการตอกมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม … Read More

อุปกรณ์วัดขนาด ความกว้างของรอยร้าว ที่เกิดขึ้นบนตัวโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีอุปกรณ์อย่างหนึ่งที่ถือได้ว่ามีประโยชน์มากๆ ต่อการทำงานการตรวจสอบความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อตัวโครงสร้างมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนั่นก็คือ CRACK SCALE หรือ CARCK INDICATOR นั่นเอง … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 67