คานรับแรงดัด “แบบปกติ” และคานรับแรงดัด “แบบลึก”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อในวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ โดยที่รายละเอียดของปัญหาที่ผมได้เลือกหยิบยกเอามาถามเพื่อนๆ ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะมีความง่ายดายมากๆ เลย ซึ่งจะมีรายละเอียดของคำถามดังต่อไปนี้ครับ จะเห็นได้ว่าคานทั้ง 3 ในรูปๆ นี้จะมีขนาดของคานและเสาที่ทำหน้าที่รองรับคาน รวมไปถึงระยะความยาวช่วงระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของจุดรองรับที่เท่าๆ กัน โดยจะแตกต่างกันเฉพาะลักษณะของน้ำหนักบรรทุกที่กระทำอยู่บนคาน ดังนั้นผมอยากที่จะสอบถามเพื่อนๆ ว่า คานหมายเลขใดที่ถูกจัดว่ามีพฤติกรรมเป็นคานรับแรงดัด “แบบปกติ” … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมยังจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ อยู่นะครับ เนื่องจากเมื่อเย็นของเมื่อวานนี้ได้มีน้องนักศึกษาท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมและได้แจ้งว่าอยากจะรบกวนให้ช่วยอธิบายและแสดงวิธีในการแก้ปัญหาในกรณีที่โครงสร้างๆ คานยื่นโครงสร้างหนึ่งซึ่งมีรูปทรงแปลกๆ ดังรูปที่แสดง นั่นก็คือค่าความสูงของหน้าตัดจะมีค่าไม่คงที่ตลอดความยาวของคานนั่นเอง ซึ่งน้องได้แจ้งว่าต้องนำเอาคำตอบไปใช้ค่อนข้างด่วนซึ่งเรียนตามตรงผมไม่อยากที่จะสนับสนุนให้น้องทำแบบนี้เท่าใดนักเพราะเกรงว่าจะทำให้พวกเราหลายๆ คนเอาเยี่ยงอย่างได้แต่เอาเป็นว่าผมทำให้ครั้งนี้เป็นกรณีพิเศษก็แล้วกันเพราะเห็นว่าน้องมีความจำเป็นต้องนำคำตอบในคำถามข้อนี้ไปใช้ในโครงงานปริญญานิพนธ์ของน้อง เอาเป็นว่าเรามาดูรายละเอียดของคำถามกันเลยดีกว่านะครับ มีคานยื่นที่มีความยาวของช่วงยื่นเท่ากับ 400 มม หรือ 40 ซม หรือ 0.40 … Read More

ระดับของน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเสวนาถึงคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ที่ผมได้ให้ไปเมื่อวานนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานและเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์ อธิบาย รวมถึงยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว โดยที่ปัญหาที่ผมได้ทำการหยิบยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างในวันนั้นและวันนี้จะมีรายละเอียดต่างๆ เหมือนกันเกือบทุกประการยกเว้นเพียงสิ่งๆ เดียวนั่นก็คือ ปัญหาประจำสัปดาห์ในวันนี้ผมจะทำการเพิ่มเติมรายละเอียดในเรื่อง “ระดับของน้ำใต้ดิน” เพิ่มเติมเข้าไปด้วยนั่นเอง ซึ่งรายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้ก็คือ … Read More

เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าว อันเนื่องมาจากการหดตัว ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานการแตกร้าวอันเนื่องมาจากการหดตัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเหล็กเสริมประเภทหนึ่งที่เราจำเป็นต้องทำการพิจารณาให้ต้องทำการเสริมอยู่ในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   ก่อนอื่นผมจะขอเกริ่นเท้าความสักเล็กน้อยถึงเนื้อหาที่ผมเคยได้อธิบายไปก่อนหน้านี้สักเล็กน้อยนะครับ … Read More

การเปรียบเทียบผลการทดสอบดิน จากการเจาะสำรวจก่อนการก่อสร้าง และในขณะทำการก่อสร้างตัวเสาเข็มเจาะจริง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างกรณีศึกษาหนึ่งของการทำการทดสอบงานดินให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับกันนั่นก็คือ การทำการเปรียบเทียบผลการทดสอบดินจากการทำการเจาะสำรวจก่อนการก่อสร้างและในขณะที่ได้ทำการก่อสร้างตัวเสาเข็มเจาะจริงๆ   เรามักจะไม่ค่อยได้พบเจอกับกรณีของการทดสอบดินแบบนี้ได้บ่อยนักนะครับ เพราะว่าโอกาสที่จะทำการทดสอบดินในลักษณะนี้จะพบเจอได้ค่อนข้างยากมากเลยทีเดียว ซึ่งส่วนใหญ่เราจะมีโอกาสพบเจอกรณีของการทดสอบแบบนี้ได้ในงานก่อสร้างโครงสร้างจำพวกเสาเข็มเจาะที่อยู่ในฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับตอม่อของสะพานในงานของทางราชการเสียเป็นส่วนใหญ่ครับ   ก่อนที่จะทำการก่อสร้างก็จะมีการทดสอบชั้นดินในบริเวณใกล้เคียงสถานที่ก่อสร้างนั้นๆ ก่อน เมื่อนำตัวอย่างดินเข้าห้องปฏิบัติการเสร็จเรียบร้อยทางวิศวกรธรณีเทคนิคก็จะทำการออกแบบเสาเข็มจากข้อมูลงานดินที่ได้เก็บขึ้นมานี้ก่อน … Read More

คานรับแรงดัด หรือ BEAM BENDING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

Puzzle112

posted in: Puzzle

Puzzle 112 วันนี้ Miss. Spunpile มีเกมส์จับผิดภาพมาให้ลองเล่นกันค่ะ เป็นการหาจุดแตกต่างของ 2 ภาพนี้ (มีจุดที่แตกต่างกันทั้งหมด 5 จุด) มีเฉลยอยู่ด้านล่าง แต่ห้ามเปิดดูก่อนนะคะ Miss Spunpile  Bhumisiam (ภูมิสยาม) บริษัท ภูมิสยาม … Read More

แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ   แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง ก็คือพื้นที่มีระยะของด้านยาว (L) … Read More

เสาเข็มคุณภาพ เหมาะกับงานต่อเติมบ้าน ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน หมดกังวลหากต้องตอกชิดกำแพงที่มีกระจก

เสาเข็มคุณภาพ เหมาะกับงานต่อเติมบ้าน ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน หมดกังวลหากต้องตอกชิดกำแพงที่มีกระจก เสาเข็มสปันไมโครไพล์ภูมิสยาม เสาเข็มที่มีความแข็งแกร่งสูง เหมาะสำหรับงานต่อเติมบ้าน สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม และยังสามารถตอกใกล้กำแพงที่มีกระจกได้ โดยไม่ทำให้เกิดความเสียหาย เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ มีรูกลมกลวงจากการสปันด้วยความเร็วสูง (SPUN=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ช่วยลดแรงดันของดินขณะตอกได้ … Read More

ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่อง ความลึกของหลุมเจาะเพื่อทำการทดสอบดินสำหรับฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) กันต่อก็แล้วกันแต่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตเท้าความก่อนสักเล็กน้อยว่าเป็นที่ทราบกันดีก่อนหน้านี้ว่าหากเราจะทำการแบ่งประเภทของฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากอาคารเพื่อถ่ายต่อลงไปสู่ดินเราจะสามารถทำการจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่   1.ฐานรากแบบตื้น … Read More

1 15 16 17 18 19 20 21 67