Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านเดิมต่อเนื่องจากโพสต์ที่แล้วของผมนะครับ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ผมได้กล่าวถึงเรื่อง Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD ว่าเหตุใดผมถึงได้กล่าวว่าหากทำการจำลองโครงสร้างด้วย PINNED แทนที่จะเป็น SPRING ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเรา เหตุใดจึงทำให้ค่า Pcr มีค่าสูงกว่าการจำลองในแบบที่สองนะครับ ก่อนอื่นไหนๆ … Read More
วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้
วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D คือ ระยะเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มนะครับ เพราะ หากให้ระยะนี้น้อยกว่า 3 เท่าของ D จะทำให้แรงเค้นในมวลดินนั้นเกิดการซ้อนทับกัน … Read More
วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนให้เข้าใจถึงเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องค่า SPT-N ของฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION กับฐานรากแบบลึกหรือ DEEP FOUNDATION ว่าจะมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรไปแล้ว หลังจากนั้นก็มีน้องแฟนเพจท่านหนึ่งสอบถามเข้ามาโดยใจความของคำถามนั้นมีความต่อเนื่องจากเนื้อหาจากโพสต์ในสัปดาห์ก่อน … Read More
วิธีการและรายละเอียด การคำนวณในเรื่องเหล็กปลอก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) โดยที่ในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับงาน การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE DESIGN) นั่นเองนะครับ มีคำถามที่ได้ฝากมาจากเพื่อนของผมในเฟซบุ้คและในชีวิตจริงด้วยท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบหน้าตัดเหล็กปลอกในเสา คสล ว่า “ผมพอที่จะเข้าใจถึงหลักในการออกแบบเหล็กยืนในหน้าตัดเสา … Read More