บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุด แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก.

ต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุด แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น … Read More

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ

จะต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ เสาเข็มต่อเติมของเรา เป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิตเสาเข็มจนได้การรับรอง มาตรฐาน มอก. สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ … Read More

เหล็กเสริมต้านทานต่อแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นสำหรับกรณีของแผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เป็นอย่างไรกันบ้างครับเพื่อนๆ เราไม่ได้พบกันในหัวข้อนี้นานหลายสัปดาห์เลย ก็ไม่เป็นไรนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและยกตัวอย่างต่อถึงเรื่อง เหล็กเสริมต้านทานต่อแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นสำหรับกรณีของแผ่นพื้นสองทางให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อหลังจากที่ติดค้างเพื่อนๆ ในเรื่องนี้อยู่หลายสัปดาห์เลย   หลักการในการคำนวรหาค่าแรงดัดสำหรับการออกแบบสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นสองทาง นั้นจะมีความยุ่งยากมากกว่ากรณีของแผ่นพื้นทางเดียวอยู่เล็กน้อยแต่ก็ไม่ได้ถือว่ามากมายอะไรนักนะครับ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้อธิบายข้อสอบใบประกอบวิชาชีพที่ออกโดยสภาวิศวกรเรื่อง พฤติกรรมการรับแรงของโครงสร้างโครงถัก ว่าเราสามารถที่จะสังเกตดูว่า แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้างโครงถักใดที่เป็น แรงดึง (TENSION FORCE) หรือ แรงอัด (COMPRESSIOB … Read More

1 6 7 8 9 10 11 12 168