วิธีในการคำนวณหา ค่าความสามารถในการรับแรงดึง และ ค่าความสามารถในการรับแรงอัด ที่ยอมให้ของเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้าน วิศวกรรมงานดินและเสาเข็ม โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้ก็ค่อนข้างที่จะมีความง่ายดายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการทบทวนความรู้ให้แก่เพื่อนๆ เกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการคำนวณหา ค่าความสามารถในการรับแรงดึง และ ค่าความสามารถในการรับแรงอัด ที่ยอมให้ของเสาเข็ม วันนี้ผมมีปัญหาง่ายๆ จะมาทดสอบดูสิว่าเพื่อนๆ … Read More
เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มและสั่นสะเทือนน้อย เหมาะสำหรับงานต่อเติม หรือสร้างใหม่
เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็มและสั่นสะเทือนน้อย เหมาะสำหรับงานต่อเติม หรือสร้างใหม่ ต้องการเสาเข็มต่อเติมบ้าน ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เพราะเป็นเสาเข็มที่มีคุณภาพและการตอกมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม … Read More
ตัวอย่าง การระมัดระวังไม่ให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็ก(โครงถัก)เกิดการเยื้องศูนย์ ผิดไปจากที่ทำการออกแบบไว้ในตอนแรก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาพูดต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานที่มีความเกี่ยวกับ ประเด็นสำคัญๆ ที่เราควรที่จะทำการพิจารณาเวลาที่ทำการออกแบบและการทำงานก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็กแก่เพื่อนๆ กันนะครับ ซึ่งประเด็นในวันนี้ก็ยังคงเกี่ยงข้องกับเรื่อง การที่เราควรที่จะระมัดระวังมิให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่เป็นโครงถักนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปผิดไปจากการที่เราได้ทำการออกแบบไว้ตั้งแต่ในตอนแรกนะครับ โดยในวันนี้ผมหยิบยก ตย ขึ้นมาให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันด้วย เพื่อนๆ จะได้สามารถที่จะเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้นด้วยนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปในโพสต์ที่แล้วนะครับว่า ที่มาของปัญหานี้ คือ เวลาที่ผู้ออกแบบทำการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ขึ้นมาเพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างโครงถักเหล็ก เรามักที่จะทำการจำลองให้ตำแหน่งของศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นตรงกัน แต่ ในสภาพความเป็นจริงเวลาที่ช่างทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กมักที่จะทำงานโดยอาศัยความง่ายในการทำงานเอาไว้ก่อน … Read More
การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว
การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน … Read More