บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สาเหตุของการที่แนวกำแพงรั้วนี้เกิดการ วิบัติ หรือ ล้มลง ไปในทิศทางดังกล่าวนั้น เกิดจากสาเหตุใดเป็นหลัก ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ จะเห็นได้จากในรูปว่ามีแนวกำแพงรั้วกั้นตลอดความยาวของที่ดิน และ เราจะพบเห็นได้อีกด้วยว่าแนวกำแพงรั้วดังกล่าวนั้นได้เกิดการ วิบัติ … Read More

จะตอกเสาเข็ม สำหรับฐานรากอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมฐานราก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)

จะตอกเสาเข็ม สำหรับฐานรากอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมฐานราก แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)   เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More

โฌแซ็ฟ-หลุยส์ ลากร็องฌ์ นักคณิตศาสตร์ในช่วงศตวรรษที่ 17

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้บุคคลคนที่ห้า ซึ่งน่าจะเป็นท่านสุดท้ายสำหรับการนำประวัติของท่านมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ในช่วงนี้นะครับ ซึ่งเพื่อนๆ ก็คงจะทราบดีว่าบุคคลที่มีความสำคัญต่องานวิศวกรรมของเรานั้นยังมีอีกมากโข หากจะนำมาเล่าทั้งหมดก็คงไม่ไหว ที่ผมนำมานั้นเป็นเพียงหยิบมือเดียว ซึ่งเป็นท่านที่มีผลงานสำคัญๆ ต่อวิศวกรรมกลศาสตร์การคำนวณของเราเท่านั้นเองนะครับ โดยที่บุคคลใที่ผมนำประวัติของท่านมาฝากในวันนี้ท่านเป็นผู้รู้ เป็นนักวิชาการ และ เป็นนักคณิตศาสตร์ที่ต้องถือว่าเก่งมากท่านหนึ่งในช่วงศตวรรษที่ 17 เลยก็ว่าได้ครับ งานของท่านได้ส่งอิทธิพลต่อการคำนวณทางด้านต่างๆ อย่างมากมายหลากหลายวงการมากๆ โดยที่บุคคลท่านนี้ก็คือ … Read More

เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More

1 30 31 32 33 34 35 36 168