บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน พื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน พื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกได้หลายต้น เพื่อเพิ่มการรับน้ำหนักที่มากขึ้น เสาเข็ม มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam ภูมิสยาม

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกได้หลายต้น เพื่อเพิ่มการรับน้ำหนักที่มากขึ้น เสาเข็ม มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam ภูมิสยาม ต่อเติมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ ต่อเติมในที่แคบ พื้นที่น้อย แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. เพราะสามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และทำงานได้รวดเร็วครับ สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More

การพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนสถาปนิกที่ได้ฝากเอาไว้ว่า “เวลาที่สถาปนิกทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมโดยเฉพาะขนาดของ โครงสร้างเสา มักที่จะพบปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น ซึ่งหลายๆ ครั้งจะพบว่าทางวิศวกรมักจะต้องขอทำการแก้ไขแบบอยู่เสมอๆ อยากทราบว่าจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ?” ผมขออนุญาตตอบเพื่อนสถาปนิกท่านนี้แบบนี้นะครับ ในการพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสานั้นเราควรทำการพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ (1) ขนาดจำนวนชั้นของอาคารที่เสาต้นนั้นจะต้องรับ หากอาคารของเราเป็นเพียงอาคาร … Read More

ลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขอมายกตัวอย่างกันให้เห็นถึงลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีตกันต่อจากเมื่อวานนะครับ มาเริ่มต้นกันทีละภาพนะครับ (A) เริ่มจากภาพ (A) เป็นแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงการแตกร้าวของคอนกรีตทั้งแบบ STRUCTURAL CRACK และ NON-STRUCTURAL CRACK นะครับ จะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนใหญ่นั้นจะเกิดจากการที่ผู้ทำงานไม่ใส่ใจที่จะดูแลเรื่องร่วเหล่านี้ไป ทั้งๆ ที่สามารถจะทำได้ตามปกติวิสัยของการทำงานอยู่แล้ว (B) ในรูป (B) … Read More

1 151 152 153 154 155 156 157 168