บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ จุดประสงค์ในการใช้งานเป็นอาคารถาวร ไม่ใช่อาคารชั่วคราว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ มีความประสงค์ที่จะทำการก่อสร้างต่อเติมส่วนของอาคารเพื่อที่จะใช้เป็นบันไดหนีไฟที่มีขนาดความสูงเท่ากับ 5 ชั้น (รวมชั้นดาดฟ้า) ซึ่งทางสถาปนิกได้เลือกทำการออกแบบและก่อสร้างโดยใช้วัสดุหลักเป็นโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โดยที่อาคารหลังนี้มีจุดประสงค์ในการใช้งานเป็นอาคารถาวร … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินชนิดพิเศษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินชนิดพิเศษ กล่าวคือเราจะทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ก็ต่อเมื่อเรามีความต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนบกเหมือนกันกับกรณีของงานก่อสร้างทั่วๆ ไปนั่นก็คือ งานประเมินกำลังของโครงสร้างประเภทที่เป็นท่าเทียบเรือน่ะครับ สาเหตุที่ผมเรียกการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ว่าเป็นการทดสอบชนิดพิเศษก็เพราะว่า เราไม่สามารถที่จะทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อประมาณช่วงต้นเดือนก่อนหน้านี้ซึ่งเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EAULER’S CRITICAL LOAD ซึ่งพวกเรานิยมเขียนแทนสั้นๆ ด้วยตัวอักษรย่อว่า Pcr ได้มีเพื่อนผมบนเฟซบุ้คท่านหนึ่งและเค้าก็บังเอิญว่าเป็นแฟนเพจของเพจเราด้วยได้ฝากคำถามเข้ามาว่า … Read More

วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง

วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION TECHNIQUE ENGINEERING หรือ CTE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ วิศวกรรมเทคนิคงานก่อสร้าง (CONSTRUCTION TECHNIQUE ENGINEERING หรือ CTE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงเรื่องข้อกำหนดในการทำงานก่อสร้างอย่างหนึ่งที่เรามิควรละเลยและจำเป็นอย่างมากที่ควรจะต้องปฏิบัติสำหรับการทำงานก่อสร้าง เรื่องนี้ก็คือ การทำโครงสร้าง “เสาเอ็น” และ … Read More

1 142 143 144 145 146 147 148 168