บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สมการในการคำนวณหาค่า Ec และค่า Ece

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ในวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนๆ ได้ทำความเข้าใจกันถึงค่า Ece นี้กันต่ออีกสักโพสต์หนึ่งก็แล้วกันนะ ซึ่งหากอ้างอิงไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วที่ผมได้กล่าวไปว่า หากจะพูดถึงค่า “โมดูลัสยืดหยุ่น” เราต้องทำความเข้าใจให้ดีๆ … Read More

การก่อสร้างคานชั้นล่างสุดของตัวบ้าน ถ้าหากใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่การเทด้วย LEAN CONCRETE ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่

เวลาบ่ายแบบนี้ ก็มาเจอกับ Mr.เสาเข็ม พร้อมความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม อีกเช่นเคยนะครับ วันนี้จะเป็นหัวข้อ การก่อสร้างคานชั้นล่างสุดของตัวบ้าน ถ้าหากใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่การเทด้วย LEAN CONCRETE ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่ ถ้าหากเราว่ากันตามหลักการทางด้านวิศวกรรมที่ถูกต้องแล้ว การทำงานหล่อคานที่ชั้นล่างนั้นจะอนุญาตให้ทำได้ก็ต่อเมื่อฐานรองรับที่ทำขึ้นเพื่อรับท้องคานนั้นมีความมั่นคง เกิดการทรุดตัวที่ไม่แตกต่างกัน มีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรับ น้ำหนัก ที่จะเกิดขึ้นเริ่มตั้งแต่การทำงานในตอนต้นไปจนกระทั่งกำลังของคอนกรีตในคานที่ชั้นล่างนี้จะสามารถรับกำลังได้ตามที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบเอาไว้ครับ มีความง่ายต่อการถอดแบบ และ การบ่มคอนกรีต ส่วนสาเหตุของการเลือกใช้การก่อด้วยอิฐบล็อกแทนที่การเทด้วย … Read More

การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION

    ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1362646520448136   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน แอดมินต้องขอโทษเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วันนี้เพิ่งเลิกเรียนในวิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS เลยมาพบกันช้าไปสักหน่อย วันนี้ผมจะมาแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION … Read More

การคำนวณการรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มยาว

การคำนวณการรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มยาว ความยาวของเสาเข็มที่เราใช้นั้นเริ่มที่จะไม่ค่อยสอดคล้องกันกับข้อเท็จจริงๆ ที่เป็นแล้ว เพราะ หากว่าเราใช้ความยาวเสาเข็มที่มีความยาวมากๆ ปลายของเสาเข็มของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะหยั่งอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงจนสามารถที่จะเรียกได้ว่าเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทาน (END BEARING PILE) ได้นะครับ สรุปง่ายๆ คือ ต่อให้เราใช้เสาเข็มที่มีความยาวมากขนาดไหน ค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มนั้นจะสามารถคำนวณได้ก็จะมีโอกาสที่จะออกมาต่ำกว่าความเป็นจริงค่อนข้างสูงนั่นเองนะครับ เรามาดูตัวอย่าง วันนี้กันดีกว่านะครับ โดยตัวอย่าง ในวันนี้เราจะมาดูเสาเข็มสี่เหลี่ยมตันขนาด สผก เท่ากับ … Read More

1 131 132 133 134 135 136 137 168