การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรที่มีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดในทิศทางเดียว (ONE WAY FLEXURAL ANALYSIS) แบบประมาณการ หรือ ด้วยวิธีการอย่างง่าย นั่นก็คือ การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั่นเองนะครับ ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั้นสามารถทำได้ง่ายๆ นะครับ แต่ … Read More
ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ
วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว เราจะต้องอาศัยความพยายามสักเล็กน้อยในการที่จะจินตนาการให้ออกว่า แรงชนิดนี้เสมือนเป็นแรงที่เกิดจากการสั่นตัวของพื้นซึ่งจะทำให้อาคารนั้นเกิด การเคลื่อนที่ไปทางด้านข้าง หรือ … Read More
ปัญหาการทำงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากบนชั้นดินอ่อน และความสำคัญของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาเนื้อหาเกี่ยวกับกรณีของการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินอ่อนเอามาฝากเพื่อนๆ อีกสักโพสต์และสำหรับวิธีที่ถูกนำมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการรับกำลังของดินอ่อนที่ผ่านมาที่ได้รับผลค่อนข้างที่จะดีซึ่งผมจะนำมาสรุปให้ฟังในวันนี้ก็ได้แก่ 1.วิธีการถ่ายน้ำหนักของดินถมหรือสิ่งปลูกสร้างให้ลงไปสู่ชั้นดินที่มีความแข็งแรงมากกว่าและมีอัตราของการทรุดตัวที่น้อยกว่า ซึ่งก็ได้แก่การใช้เสาเข็มดินซีเมนต์หรือ SOIL-CEMENT COLUMN ซึ่งโดยรวมก็พบว่าสามารถที่จะใช้งานได้ดีในระดับหนึ่งแต่ก็ยังพบว่ายังปัญหาอยู่บ้าง เช่น … Read More
เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกใน ที่แคบที่ ได้รึเปล่าคะ?
เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถตอกใน ที่แคบที่ ได้รึเปล่าคะ? สวัสดีครับ วันนี้ Mr.Micropile มีภาพ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่ตอกในที่แคบได้ครับ เพราะปั้นจั่นเรามีขนาดที่เหมาะสม และ สามารถถอดประกอบเพื่อเข้าพื้นที่แคบได้ พร้อมกับ เสาเข็มมาตรฐาน มอก. ของ BSP-Bhumisiam มีความยาม 1.5 เมตร … Read More