รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ และ ถึงแม้ว่าประเด็นๆ นี้จะเป็นแค่เกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ แต่ผมก็เชื่อเหลือเกินครับว่าเพื่อนๆ หลายๆ ท่านเองคงจะเคยถกเถียงกันอย่างแน่นอน นั่นก็คือ “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” นั่นเองนะครับ 💡 เนื่องจากว่าเมื่อเราทำการออกแบบปริมาณเหล็กเสริมในฐานรากตามกรณีปกติทั่วๆ ไป เช่น … Read More
การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (CONCRETE SLUMP TEST)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการทำงานคอนกรีต แต่ ก็ถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ อย่างละเลยไม่ได้เลยนะครับ นั่นก็คือ การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (CONCRETE … Read More
“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” รูปแบบของโครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นในการรับแรงที่มีความน่าสนใจ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณช่วงประมาณปลายปีที่แล้วที่ผมได้พาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับคุณลักษณะต่างๆ ของจุดต่อที่สามารถจะแบ่งออกได้ตามประเภทหลักๆ ของ โครงสร้างของหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE ทั้ง 3 ประเภทซึ่งจะประกอบไปด้วย … Read More
วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More