ความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามมาหลังไมค์กับผมว่า “มีความผิดพลาดในการทำงานเสาเข็มเจาะดังรูป โดยจะเห็นได้ว่ามีเสาเข็มเจาะต้นเล็ก (เส้นประสีดำ) นั้นวางซ้อนตัวอยู่ภายในเสาเข็มเจาะต้นใหญ่ (เส้นประสีแดง) อยากสอบถามผมว่ากรณีของเสาเข็มดังรูปนี้ถือว่าใช้ได้หรือไม่ครับ?” ก่อนอื่นเลย ผมต้องขอออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า … Read More
หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)
สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More
การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ สืบเนื่องจากการที่ก่อนหน้านี้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้โพสต์ถามกับผมมาหลังไมค์ว่า “ในกรณีที่คานรับแรงดัดของเรานั้นมีหน้าตัดที่ไม่คงที่ เช่น มีเล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ในช่วงคานเดียวกัน จะเกิดผลอย่างไร และ ควรที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างและทำการออกแบบอย่างไรครับ ?” ซึ่งจริงๆ ผมก็ได้สรุปโดยให้คำแนะนำกับพี่ท่านนี้ไปแล้วว่า … Read More
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์และแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงค่า ความหน่วง หรือว่า “DAMPING” ในโครงสร้างไปแล้วพอสังเขป … Read More