บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

จะตอกเสาเข็มชิดกำแพงได้ไหมครับ กำแพงจะเสียหายไหมครับ รบกวนขอผู้ให้บริการที่ตอกแล้วได้มาตรฐานหน่อยครับ

จะตอกเสาเข็มชิดกำแพงได้ไหมครับ กำแพงจะเสียหายไหมครับ รบกวนขอผู้ให้บริการที่ตอกแล้วได้มาตรฐานหน่อยครับ แนะนำใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. ภูมิสยาม เสาเข็มที่รองรับงานต่อเติมเพื่อป้องกันการทรุด ตามที่วิศวกรออกแบบ จะนิยมใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกที่เป็นไปตาม มาตรฐาน ISO 9001 เสาเข็มภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ครับ … Read More

เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (REINFORCED CONCRETE COLUMNS)

เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Columns) จะเป็นตัวรับน้ำหนักของอาคาร โดยตัวอาคารจะถ่ายน้ำหนักมาลงที่เสาในแนวดิ่ง และในบางครั้งอาจจะต้องรับโมเมนต์ดัดด้วย ซึ่งเสาจะมีรูปแบบและข้อกำหนดที่แตกต่างกันไป ในการพิจารณาออกแบบเสาจะต้องพิจารณาถึงการรับแรงของเสาและลักษณะปลายยึดของหัวเสาด้วย ลักษณะของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถแบ่งโดยสังเขปเป็น 2 ประเภท ดังนี้ แบ่งตามลักษณะของแรงที่มากระทำ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ เสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่รับแรงตามแนวศูนย์กลางแกนเสา … Read More

การคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปลงรายละเอียดในรายการคำนวณการตรวจสอบหาค่าการเสียรูปภายในหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กในแต่ละหน้าแต่ละหัวข้อไปพร้อมๆ กันนะ โดยที่ในวันนี้ผมก็จะเริ่มจากหน้าที่ 1 กันก่อนเลย ซึ่งก็คือรูปที่ผมได้นำเอามาประกอบคำอธิบายในวันนี้นะครับ ทั้งนี้ก็จะเริ่มต้นจากการตรวจสอบก่อนว่า โครงสร้างคาน คสล ของผม ซึ่งจากรายการคำนวณจะแสดงให้เห็นว่าคาน … Read More

วิธีการออกแบบและก่อสร้างชิ้นส่วน ซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่ โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมมีรูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งผมเชื่อเหลือกเกินว่าพอผมพูดเช่นนี้ คงจะมีเพื่อนๆ ไม่น้อยที่สงสัยและอยากรู้ว่าเจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติได้อย่างไรกัน ?   … Read More

1 153 154 155 156 157 158 159 168